ไถลด้วยมุมที่มากกว่าล้อหน้า นั่นคือรถกำลังดริฟท์อยู่ หรือคือ
การโอเวอร์สเตียร์ ด้านท้ายของรถจะกวาดออกตลอดโค้ง คนขับจะใช้ประโยชน์จากยางหน้าและหลัง เพื่อควบคุมรถให้ไปในทิศทางที่ต้องการ ยิ่งเดินคันเร่ง
ก็จะยิ่งเพิ่มมุมการไถลของล้อหลังทำให้ท้ายยิ่งกวาดจนแทบจะหมุนเลยทีเดียว ประเด็นก็คือเพื่อให้คนขับสามารถใช้พวงมาลัยและคันเร่งในการทำให้มุมของ
รถและทิศทางที่รถกำลังมุ่งไปสมดุลกัน
การดริฟท์
การดริฟท์คือสไตล์การขับที่ต้องทำโอเวอร์สเตียร์เข้าหาโค้ง และผ่านโค้งนั้นไป โดยปกตินั้นจะสามารถทำได้ด้วยรถที่เป็นระบบขับเคลื่อนด้วยล้อหลัง เพราะลักษณะการถ่ายกำลังและการถ่ายเทน้ำหนักของมัน เหมาะสมสุด ๆ สำหรับ
การนี้โดยเฉพาะ การดริฟท์อาจจะใช้เพื่อความสนุก ซึ่งมีจุดประสงค์ที่ว่าผสมผสานระหว่างความสนุกกับการเสริมทักษะในการควบคุมรถ หรือใช้ในการแข่ง
ก็ได้ การแข่งดริฟท์ เป็นการแข่งที่ดูจากสไตล์มากกว่าความเร็วที่วิ่งได้ต่อรอบ หรือ ตำแหน่งตอนเข้าเส้นชัย เกณฑ์การตัดสินหลัก ๆ จะขึ้นอยู่กับ 4 ปัจจัย
ได้แก่
1. มุมการเข้าโค้ง
2. ไลน์
3. ความเร็ว
4. ลูกเล่นหรือสไตล์ การดริฟท์ไม่ใช่วิธีที่ทำให้ไปได้เร็วที่สุดในสนามแข่ง แต่การดริฟท์จะมีประ
โยชน์มากอย่างเช่นในการแข่งแรลลี่ แต่ในการแข่งเซอร์กิตนั้น การดริฟท์
จะทำให้รถไปได้ช้ากว่าการใช้เทคนิคธรรมดา ประวัติ
การดริฟท์มีต้นกำเนิดมาจากพวกนักแข่งตามถนนบนภูเขาแถบชนบทของประเทศญี่ปุ่น เป็นการแข่งบนถนนบนภูเขา (เรียกว่า โทเกะ) จนในที่สุดก็
พัฒนามาเป็นรายการแข่งที่ต้องใช้ทุน และการโฆษณาต่าง ๆ ซึ่งได้รับการ
สนับสนุนและอนุมัติโดยองกรณ์ และจัดแข่งตามสนามแข่งเอกชนต่าง ๆ
การดริฟท์ในสหรัฐอเมริกาเริ่มขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1996 ซึ่งเป็นรายการแข่งที่จัด
ณ สนามแข่ง Willow Springs, California จัดขึ้นโดย นิตรยสาร Option
แต่มันก็ไม่ได้รับความนิยมจนกระทั่งเมื่อปี ค.ศ. 2002 นักดริฟท์ชาวญี่ปุ่นก็
ยังคงถือว่าเป็นผู้นำในด้านเทคนิค และการปรับปรุงรถ แต่พวกอเมริกันเองก็พัฒนาตัวเองและตามขึ้นมาอย่างรวดเร็ว ตามข่าวลือนั้น Keiichi Tsuchiya เมื่อตอนแข่งรถอยู่ และอยู่ในอันดับรั้งท้าย เขาตัดสินใจที่จะเหวี่ยงรถผ่านโค้ง ทำให้เหล่าฝูงชนรู้สึกตกตะลึงและรู้สึกประหลาดใจไปตาม ๆ กัน ภายหลัง Tsuchiya เรียกมันว่า “การดริฟท์” ใน
ขณะที่นี่อาจไม่ใช่ต้นกำเนิดของมัน แต่มันก็เป็นที่มาของชื่อและการแสดง
ให้คนอื่นเห็นเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1977 Keiichi เริ่มต้นอาชีพการแข่ง
ของเค้าด้วยการขับรถหลายคัน ในการแข่งระดับมือสมัครเล่นรายการต่าง ๆ
การแข่งในรถที่ไม่ค่อยมีกำลังแบบนี้ค่อนข้างยาก แต่ก็ทำให้ได้ประสบการณ์
การเรียนรู้ที่ดี ต่อมา Keiichi ก็มีโอกาสได้ขับรถ Toyota AE86 Sprinter Trueno ซึ่งมีสปอนเซอร์หลักคือ ADVAN ในหลาย ๆ การแข่ง ในขณะที่เข้า
โค้งขาลง เขาจะดริฟท์รถของเค้า และทำให้ได้ความเร็วขณะเข้าโค้งมากกว่า
คู่แข่งคนอื่น ๆ ของเค้า เทคนิคนี้ ทำให้เค้าได้รับการขนานนามว่าเป็น Drift King ไม่ใช่เพราะอย่างที่หลายคนเข้าใจว่าเค้าเป็นคนแรกที่ดริฟท์ หลาย ๆ เทคนิคซึ่งใช้กันในปัจจุบันในการดริฟท์นั้นถูกพัฒนาขึ้นโดยเหล่านัก
แข่งแรลลี่บนทางวิบาก ทางฝุ่น หรือแม้แต่บนหิมะ บนพื้นผิวถนนเช่นนั้น วิธีที่
จะเข้าโค้งได้เร็วที่สุดก็คือการสไลด์
ในปัจจุบันนี้ การดริฟท์ได้มีวิวัฒนาการจนกลายเป็นกีฬา ซึ่งนักขับต้องแข่งพัฒนามาเป็นรายการแข่งที่ต้องใช้ทุน และการโฆษณาต่าง ๆ ซึ่งได้รับการ
สนับสนุนและอนุมัติโดยองกรณ์ และจัดแข่งตามสนามแข่งเอกชนต่าง ๆ
การดริฟท์ในสหรัฐอเมริกาเริ่มขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1996 ซึ่งเป็นรายการแข่งที่จัด
ณ สนามแข่ง Willow Springs, California จัดขึ้นโดย นิตรยสาร Option
แต่มันก็ไม่ได้รับความนิยมจนกระทั่งเมื่อปี ค.ศ. 2002 นักดริฟท์ชาวญี่ปุ่นก็
ยังคงถือว่าเป็นผู้นำในด้านเทคนิค และการปรับปรุงรถ แต่พวกอเมริกันเองก็พัฒนาตัวเองและตามขึ้นมาอย่างรวดเร็ว ตามข่าวลือนั้น Keiichi Tsuchiya เมื่อตอนแข่งรถอยู่ และอยู่ในอันดับรั้งท้าย เขาตัดสินใจที่จะเหวี่ยงรถผ่านโค้ง ทำให้เหล่าฝูงชนรู้สึกตกตะลึงและรู้สึกประหลาดใจไปตาม ๆ กัน ภายหลัง Tsuchiya เรียกมันว่า “การดริฟท์” ใน
ขณะที่นี่อาจไม่ใช่ต้นกำเนิดของมัน แต่มันก็เป็นที่มาของชื่อและการแสดง
ให้คนอื่นเห็นเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1977 Keiichi เริ่มต้นอาชีพการแข่ง
ของเค้าด้วยการขับรถหลายคัน ในการแข่งระดับมือสมัครเล่นรายการต่าง ๆ
การแข่งในรถที่ไม่ค่อยมีกำลังแบบนี้ค่อนข้างยาก แต่ก็ทำให้ได้ประสบการณ์
การเรียนรู้ที่ดี ต่อมา Keiichi ก็มีโอกาสได้ขับรถ Toyota AE86 Sprinter Trueno ซึ่งมีสปอนเซอร์หลักคือ ADVAN ในหลาย ๆ การแข่ง ในขณะที่เข้า
โค้งขาลง เขาจะดริฟท์รถของเค้า และทำให้ได้ความเร็วขณะเข้าโค้งมากกว่า
คู่แข่งคนอื่น ๆ ของเค้า เทคนิคนี้ ทำให้เค้าได้รับการขนานนามว่าเป็น Drift King ไม่ใช่เพราะอย่างที่หลายคนเข้าใจว่าเค้าเป็นคนแรกที่ดริฟท์ หลาย ๆ เทคนิคซึ่งใช้กันในปัจจุบันในการดริฟท์นั้นถูกพัฒนาขึ้นโดยเหล่านัก
แข่งแรลลี่บนทางวิบาก ทางฝุ่น หรือแม้แต่บนหิมะ บนพื้นผิวถนนเช่นนั้น วิธีที่
จะเข้าโค้งได้เร็วที่สุดก็คือการสไลด์
กันในรถที่มีระบบขับเคลื่อนล้อหลัง เพื่อสไลด์ให้นานที่สุดเท่าที่จะทำได้ ใน
การแข่งระดับสูง โดยเฉพาะการแข่ง D1 Grand Prix ในประเทศญี่ปุ่น ในสหราชอาณาจักร และในสหรัฐอเมริกา นักขับสามารถที่จะทำให้รถของเค้า
สไลด์อยู่ได้นาน และสไลด์ผ่านโค้งหลาย ๆ โค้งติด ๆ กันได้ การแข่งดริฟท์
นั้นไม่ได้ตัดสินจากการที่ดูว่าใช้เวลาเท่าไหร่ในการวิ่งวนครบรอบสนาม แต่
ดูจากการเข้าไลน์ มุม ความเร็ว และปัจจัยในการแสดง ไลน์ เกี่ยวกับการเข้า
ให้ถูกไลน์ ซึ่งโดยปกติจะถูกกำหนดและบอกไว้ก่อนโดยกรรมการ มุม คือมุม
ของรถในตอนดริฟท์ ยิ่งมากยิ่งดี ความเร็ว คือความเร็วตอนเข้าโค้ง ตอนผ่าน
โค้ง และตอนออกจากโค้งไปแล้ว ยิ่งเร็วยิ่งดี ปัจจัยการแสดงนั้นขึ้นอยู่กับ
หลาย ๆ อย่าง เช่น จำนวนของควันยาง รถเฉียดกำแพงมากขนาดไหน มัน
ขึ้นอยู่กับว่าทุกอย่างดู “เจ๋ง” ขนาดไหน ในรอบสุดท้ายของการแข่งมักจะเป็น
การแข่งของรถดริฟท์สองคันซึ่งเรียกเล่น ๆ กันว่า “tsuiso” (การวิ่งไล่กัน) ในภาษาญี่ปุ่น ซึ่งคือการที่รถคันนึงไล่รถอีกคันนึงในสนาม เพื่อพยายามที่จะ
ไล่ให้ทัน หรือแม้แต่แซงรถคันข้างหน้า ในรอบ tsuiso นี้ มันไม่เกี่ยวกับไลน์ในการดริฟท์ แต่ขึ้นอยู่กับว่านักดริฟท์คนไหนดริฟท์ได้น่าตื่นตาตื่นใจมากกว่ากัน โดยปกติแล้ว รถคันที่นำ จะทำมุมการดริฟท์แบบสุด ๆ แต่ก็ยังหัวชิดโค้งอยู่
เพื่อบังกันไม่ให้โดนแซง รถคันที่ตามโดยปกติจะดริฟท์ด้วยมุมที่น้อย ๆ แต่จะใกล้กับคันหน้ามาก ๆ รถไม่จำเป็นต้องตามให้ทัน และในความเป็นจริงแล้ว
ในบางกรณี รถที่ถูกทิ้งในทางตรงหากดริฟท์สวยก็จะชนะในรอบนั้นไปเลย การหมุน การอันเดอร์สเตียร์ หรือการชนกันนั้นจะส่งผลให้ตกรอบนั้นไปเลยรถขับเคลื่อนล้อหลังคันไหนก็ดริฟท์ได้ (แต่จะดีกว่าหากมี limited-slip differential) และรถขับเคลื่อสี่ล้อบางคันก็ดริฟท์ได้ โดยส่วนมากแล้ว จะดริฟท์ด้วยมุมที่น้อยกว่า แต่จะเข้าเร็วกว่า รถที่ใช้แข่งที่ได้รับความนิยมในสหรัฐอเมริกาได้แก่ Nissan 240SX (เป็นเวอร์ชั่นที่ใช้เรียกในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ซึ่งในประเทศญี่ปุ่นก็คือ Nissan Silvia นั่นเอง), Nissan 350Z, Toyota Corolla GT-S, Mazda RX-7 และ Honda S2000 เมื่อเร็ว ๆ นี้ พวกที่ชอบรถ
ผลิตภายในประเทศ (สหรัฐอเมริกา) ก็มาลงแข่งด้วยรถอย่าง Ford Mustang, Pontiac GTO และ Dodge Viper ในประเทศญี่ปุ่นนั้น รถดริฟท์ระดับท๊อปได้แก่พวก S13, S14 และ S15, Toyota AE86 Sprinter Trueno และ Corolla Levin, Nissan Skyline (ตัวขับเคลื่อนล้อหลังอย่าง ER34 ซึ่งเป็น
รถ 4 ประตูและในรุ่นก่อนหน้านี้อย่าง HCR32), Mazda RX-7 ทั้งตัว FC
และ FD, Toyota Altezza, Toyota Aristo, Nissan Z33 Fairlady Z, Nissan Cefiro, Nissan Laurel, Toyota Soarer และเหล่ารถที่กล่าวมา
ข้างต้นทั้งหมด และก็ยังมีข้อถกเถียงกันอยู่ในเรื่องที่ว่ารถขับเคลื่อนล้อหน้าดริฟท์ได้หรือไม่
โดยนิยามทางเทคนิคแล้ว (ล้อหลังลื่นไถลในมุมที่มากกว่าล้อหน้า) มันดริฟท์
ได้ แต่อย่างไรก็ตาม หลายคนเห็นว่า รถขับเคลื่อนล้อหน้า เป็นตัวเลือกที่ไม่ดีสำหรับการดริฟท์ เพราะการที่ต้องใช้เบรกมือบ่อย (ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับ
การจะดริฟท์รถขับเคลื่อนล้อหน้า) ซึ่งทำให้มันวิ่งช้าลงและยากต่อการควบคุม รวมถึงเพราะการที่มันล้อหน้าเพื่อทั้งการเลี้ยวและขับเคลื่อน การที่รถหลุดจากการควบคุมหลังจากการสไลด์เพียงครั้งเดียว ในขณะที่รถขับเคลื่อนล้อหลังสามารถที่จะดริฟท์ผ่านโค้งที่ต่อเนื่องได้ หากมองกันในมุมนี้ และนี่คือนิยาม
ของการดริฟท์แล้วล่ะก็ รถขับเคลื่อนล้อหน้าไม่สามารถที่จะดริฟท์ได้ ได้แค่
การทำพาวเวอร์สไลด์ แต่อย่างไรก็ตาม นักดริฟท์บางคน เช่น Kyle Arai หรือ Keisuke Hatakeyama ใช้รถ Civic EF ในการดริฟท์ และก็ประสบความสำเร็จในการทำเช่นนั้นด้วย บางครั้งก็สามารถเอาชนะคู่แข่งที่เป็นรถขับเคลื่อนล้อหลังด้วย รถขับเคลื่อน 4 ล้อ เช่น Subaru Impreza WRX STi และ Mitsubishi Lancer Evolution นั้น ดริฟท์ด้วยมุมที่ต่างออกไป และโดยปกติจะทำโดย
การ power-over เพราะการที่ล้อหน้าของมันเป็นล้อขับเคลื่อนด้วยในรถขับเคลื่อน 4 ล้อ จึงเป็นที่สังเกตได้ง่ายว่า มันจะใช้การ counter steer น้อย การแข่ง D1 และ การแข่งระดับมืออาชีพรายการอื่น ๆ ไม่อนุญาตให้รถขับเคลื่อน 4 ล้อลงแข่ง แต่อย่างไรก็ตาม รถอย่าง Impreza และ Lancer ก็ถูกแปลงให้เป็นรถขับเคลื่อนล้อหลังและก็สามารถลงแข่งในรายการที่ห้ามรถขับเคลื่อน 4 ล้อลงแข่งได้ การกีฬา
ของแต่งหลายชิ้นจากหลายสำนักแต่งที่มีขายนั้น ก็มีประเภทที่ว่าได้รับการ
ออกแบบมาสำหรับการโมดิฟายรถดริฟท์โดยเฉพาะเช่นกัน นักแข่งเกือบจะ
ทั้งหมด อาศัยของแต่งเหล่านี้เพื่อปรับปรุงระบบช่วงล่าง ระบบขับเคลื่อน
แชสซี และตัวถังรถของพวกเค้า รายการแข่งดริฟท์ที่สำคัญมากที่สุดในโลกได้แก่รายการ Autobacs D1 Grand Prix ซึ่งมีต้นกำเนิดในประเทศญี่ปุ่น ณ สนามแข่ง Ebisu เมื่อขยายครอบคลุมทั่วประเทศญี่ปุ่นแล้ว D1 Grand Prix ณ ตอนนี้ก็มีการจัดแข่ง
แมทช์แข่งระหว่าง ญี่ปุ่น ปะทะ สหรัฐอเมริกาขึ้นด้วยที่สนาม Irwindale Speedway ใน California และอีกรายการที่สนาม Silverstone Circuit
และวางแผนที่จะบุกตลาดในส่วนอื่น ๆ ของทวีปเอเชียด้วย นิตรยสาร Option ร่วมกับแผนกวิดีโอ V-Option ได้ตัดสินใจสร้างการแข่ง D1 Grand Prix
ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความคลั่งไคล้ในการดริฟท์ที่กำลังขยายตัว นำโดยประธาน CEO Daijiro Inada พวกเขาพยายามกันสุดความสามารถเพื่อขึ้นสู่จุดสูงสุด
ในปี ค.ศ. 2006 ทาง D1 จะนำการแข่งเข้าสู่สหราชอาณาจักร ด้วยการให้
โอกาสนำนักแข่ง 5 อันดับแรก มาแข่งทั้งในสหราชอาณาจักรและในญี่ปุ่น เทคนิคการดริฟท์ มันมีหลายวิธีเพื่อที่จะดริฟท์ ซึ่งได้แก่
(หมายเหตุ : ควรปิดระบบ ABS และ TCS ก่อน เพราะระบบเหล่านี้ถูกสร้างมาเพื่อกันไม่ให้รถเกิดการสไลด์)
วิธีการดริฟท์
Braking Drift- การดริฟท์ชนิดนี้ทำได้โดยการ เหยียบเบรกอย่างต่อเนื่อง
จนเข้าสู่โค้ง เพื่อที่ว่าจะได้ทำให้รถนั้นสามารถถ่ายน้ำหนักและทำให้ล้อหลังสูญเสียแรงยึดเกาะ จากนั้นก็ควบคุมการดริฟท์ด้วยพวงมาลัยและคันเร่ง การปรับอัตราการจับของเบรกก็ช่วยในการดริฟท์ได้ ซึ่งมันก็ขึ้นอยู่กับสไตล์การขับของ
แต่ล่ะคน โดยปกติแล้ว หากอัตราการจับของเบรกค่อนไปทางล้อหลังจะช่วยให้เกิดการดริฟท์ได้
Power Over Drift- การดริฟท์ชนิดนี้ทำได้โดยการ เข้าโค้งทั้ง ๆ ที่เหยียบคันเร่งเต็มที่ก่อให้เกิดการโอเวอร์สเตียร์เมื่อถึงโค้ง มันเป็นวิธีดริฟท์โดยทั่วไปสำหรับพวกรถขับเคลื่อน 4 ล้อ (ได้ผลดีกว่ารถขับเคลื่อนล้อหลัง) Keiichi Tsuchiya เคยบอกว่าเค้าก็เคยใช้เทคนิคนี้เมื่อตอนที่เค้ายังหนุ่ม และกลัวที่จะดริฟท์เมื่อถึงโค้ง แต่อย่างไรก็ตาม เทคนิคนี้จะก่อให้เกิดอาการล้อฟรีทิ้งมากจนเข้าสู่โค้ง เพื่อที่ว่าจะได้ทำให้รถนั้นสามารถถ่ายน้ำหนักและทำให้ล้อหลังสูญเสียแรงยึดเกาะ จากนั้นก็ควบคุมการดริฟท์ด้วยพวงมาลัยและคันเร่ง การปรับอัตราการจับของเบรกก็ช่วยในการดริฟท์ได้ ซึ่งมันก็ขึ้นอยู่กับสไตล์การขับของ
แต่ล่ะคน โดยปกติแล้ว หากอัตราการจับของเบรกค่อนไปทางล้อหลังจะช่วยให้เกิดการดริฟท์ได้
กว่าการดริฟท์หากเข้าด้วยมุมที่ผิด
Inertia (Feint) Drift- เทคนิคนี้สามารถทำได้โดยการโยกรถไปในทิศ
ทางตรงกันข้ามกับโค้งและหลังจากนั้นก็อาศัยแ รงเฉื่อยของรถ เพื่อเหวี่ยงรถกลับมาในทิศทางของโค้ง จากการที่เราหักหัว
ออกนอกโค้ง และหักกลับมาอย่างเร็ว คุณก็จะได้มุมที่ดีกว่า ในบางครั้ง การ
เบรกระหว่างที่เหวี่ยงรถไปในทิศทางตรงกันข้ามกับโค้งนั้นก็ช่วยในเรื่องของการถ่า ยเทน้ำหนักเช่นกัน และจะทำให้เข้าโค้งได้ดีกว่าเดิมอีก นักดริฟท์มืออาชีพ
หลายคนกล่าวไว้ว่า นี่เป็นหนึ่งในเทคนิคทำได้ยากที่สุด เนื่องจากมีโอกาส
หมุนสูง
ทางตรงกันข้ามกับโค้งและหลังจากนั้นก็อาศัยแ รงเฉื่อยของรถ เพื่อเหวี่ยงรถกลับมาในทิศทางของโค้ง จากการที่เราหักหัว
ออกนอกโค้ง และหักกลับมาอย่างเร็ว คุณก็จะได้มุมที่ดีกว่า ในบางครั้ง การ
เบรกระหว่างที่เหวี่ยงรถไปในทิศทางตรงกันข้ามกับโค้งนั้นก็ช่วยในเรื่องของการถ่า ยเทน้ำหนักเช่นกัน และจะทำให้เข้าโค้งได้ดีกว่าเดิมอีก นักดริฟท์มืออาชีพ
หลายคนกล่าวไว้ว่า นี่เป็นหนึ่งในเทคนิคทำได้ยากที่สุด เนื่องจากมีโอกาส
หมุนสูง
Handbrake/ebrake Drift- เทคนิคนี้ค่อนข้างจะง่าย ดึงเบรกมือเพื่อให้ด้านหลังสูญเสียแรงยึดเกาะและควบคุมการดริฟท์ด้วยพวงมาลัยและการเ ดินคันเร่ง มีบางคนถกเถียงกันในเรื่องนี้ว่าการใช้เบรกมือนั้น ก่อให้เกิดการดริฟท์ หรือเป็นเพียงแค่พาวเวอร์สไลด์ แต่ในท้ายที่สุดแล้ว การใช้เบรกมือก็ไม่
ต่างจากเทคนิคอื่น ๆ เพื่อดริฟท์ โดยทั่วไปแล้วนี่เป็นเทคนิคหลักสำหรับการดริฟท์รถขับเคลื่อนล้อหน้า นี่เป็นเทคนิคแรกที่มือใหม่จะใช้หากรถของเค้าไม่มีแรงกำลังมากพอที่จะทำให้รถสูญเสีย แรงยึดเกาะด้วยเทคนิคอื่น ๆ และเทคนิคนี้ก็ใช้กันอย่างมากในการแข่งดริฟท์เพื่อดริฟท์ในโค้ง
ต่างจากเทคนิคอื่น ๆ เพื่อดริฟท์ โดยทั่วไปแล้วนี่เป็นเทคนิคหลักสำหรับการดริฟท์รถขับเคลื่อนล้อหน้า นี่เป็นเทคนิคแรกที่มือใหม่จะใช้หากรถของเค้าไม่มีแรงกำลังมากพอที่จะทำให้รถสูญเสีย แรงยึดเกาะด้วยเทคนิคอื่น ๆ และเทคนิคนี้ก็ใช้กันอย่างมากในการแข่งดริฟท์เพื่อดริฟท์ในโค้ง
Dirt Drop Drift- เทคนิคนี้ทำได้โดยการให้ล้อหลังของรถตกลงไปข้าง
ทางที่เป็นดินเพื่อรักษาหรือเพื่อให้ ได้มุมการดริฟท์โดยไม่สูญเสียกำลังหรือความเร็ว และเพื่อที่จะเตรียมสำหรับ
โค้งต่อไป เทคนิคนี้ใช้ได้เฉพาะกับถนนที่ไม่มีแผงกั้นและมีดินหรือฝุ่นหรือ
อะไรอย่างอื่นที่ทำใ ห้สามารถสูญเสียแรงยึดเกาะได้ นี่เป็นเทคนิคที่ใช้กันโดยทั่วไปในการแข่ง
แรลลี่ WRC
Clutch Kick- เทคนิคนี้ทำได้โดยการเบิ้ลคลัทช์ (การเหยียบและปล่อยทางที่เป็นดินเพื่อรักษาหรือเพื่อให้ ได้มุมการดริฟท์โดยไม่สูญเสียกำลังหรือความเร็ว และเพื่อที่จะเตรียมสำหรับ
โค้งต่อไป เทคนิคนี้ใช้ได้เฉพาะกับถนนที่ไม่มีแผงกั้นและมีดินหรือฝุ่นหรือ
อะไรอย่างอื่นที่ทำใ ห้สามารถสูญเสียแรงยึดเกาะได้ นี่เป็นเทคนิคที่ใช้กันโดยทั่วไปในการแข่ง
แรลลี่ WRC
ปกตจะกระทำมากกว่า 1 ครั้งในการดริฟท์เพื่อการแต่งโค้งด้วยความรวดเร็ว) เพื่อให้แรงขับเคลื่อนเกิดการสะดุด ทำให้รถเสียสมดุล มันทำให้ล้อหลังเกิดอาการลื่นไถลและทำให้คนขับสามารถก่ออาการโอเวอร์สเตียร์ได้
Choku Dori- นี่เป็นเทคนิคขั้นสูงซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้หนี่งในเทคนิคที่
กล่าวมาข้างต้นเพื่อเริ่มการดริฟท์ จากนั้นก็ใช้เบรกมือเพื่อการยืดการดริฟท์
ในโค้ง
กล่าวมาข้างต้นเพื่อเริ่มการดริฟท์ จากนั้นก็ใช้เบรกมือเพื่อการยืดการดริฟท์
ในโค้ง
Changing Side Swing- เทคนิคนี้ใช้กันอย่างแพร่หลายในการแข่ง D1 ในญี่ปุ่น และมีความคล้ายคลึงกับ Inertia (Feint) Drift เป็นอย่างมาก ส่วนมากมันจะถูกใช้ในตอนที่จะดริฟท์โค้งแรก ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นโค้ง Double Apex และอยู่ต่อจากทางตรงยาว หากทางตรงยาวที่อยู่ก่อนโค้ง Double Apex นั้นมีลักษณะเป็นทางลง นักขับจะขับชิดขอบสนามด้านในโค้ง จากนั้น ด้วยการกะจังหวะที่ถูกต้อง นักขับจะเหวี่ยงหักรถไปอีกด้านนึงทันที การทำแบบนี้ ทำให้โมเมนตัมของรถเปลี่ยนไป ทำให้ล้อหลังสูญเสียแรงยึดเกาะ ตอนนี้รถอยู่ในช่วงดริฟท์แล้ว หลังจากนั้นก็ดริฟท์อย่างต่อเนื่องไปจนผ่านโค้ง
Manji Drift- เทคนิคนี้ใช้ตอนดริฟท์บนทางตรง ผู้ขับจะเหวี่ยงรถสลับข้างไปมาระหว่างดริฟท์ ซึ่งดูน่าทึ่งมาก มันสามารถใช้เป็นเทคนิคนำก่อนจะใช้เทคนิคต่อ ๆ ไปในข้างต้นก็ได้
Dynamic Drift- เทคนิคนี้จะคล้าย ๆ กับ Choku Dori มันใช้รูปแบบของเทคนิคด้านบนทั้งหมด และไม่จำกัดเพียงแค่ 1 เทคนิค นำมารวมกันเพื่อให้ได้การดริฟท์ที่วางเอาไว้
ข้อเท็จจริงน่ารู้------------------------------------------------------------------------
สำหรับนักขับชาวญี่ปุ่นที่ต้องการเข้าถึง D1 พวกเขาจะต้องผ่านหนึ่งในราย
การของ Option ให้ได้ซะก่อน “Ikaten” นี่คือที่ที่เหล่ามือสมัครเล่นจะมา
พิสูจน์ฝีมือตัวเองเพื่อให้ได้เป็นส่วนหนึ่งของ D1 หากพวกเขาได้รับการคัด
เลือก พวกเขาจะได้รับ “D1 License” ซึ่งทำให้พวกเขามีโอกาสเข้าสู่รอบ
คัดเลือกของ D1 ประเทศอื่นที่ไม่ใช่ญี่ปุ่นค่อนข้างจะได้รับสิทธิพิเศษหน่อย
ตรงที่แค่ไปงาน “Driver’s Search” เพื่อที่จะได้ D1 License
-Kumakubo เป็นเจ้าของสนาม Ebisu ซึ่งนั่นเป็นเหตุผลว่าทำไม D1 มีต้นกำเนิดมาจากที่นั่น และก็เป็นอีกเหตุผลที่ว่าทำไม Kumakubo ถึงขับได้
ดีในรอบ Tsuiso
-คุณอาจเคยสังเกตเห็นคำว่า “Big X” บนฝากระโปรงรถของ Kumakubo Big X คืองานโชว์กลางแจ้งที่รวมเอาการโชว์ดริฟท์ โมโตครอส และกีฬา Xtreme อื่น ๆ รวมไว้ด้วยกัน โดยนำเอาระดับท๊อป ๆ ของแต่ละแขนงมารวมตัวกัน
-กลุ่มดริฟท์ของ Big X มีชื่อเรียกว่า Drift Xtreme ซึ่งนักแข่งชั้นนำของ D1 จะถูกเชิญให้เข้าร่วมเมื่อเค้าเริ่มเป็นที่รู้จัก คุณจะเห็นสติ๊กเกอร์ Drift Xtreme บนรถ D1 หลายคัน ยกตัวอย่างเช่น Nobushige Kumakubo, Nomura Ken, Kazama Yasuyuki, Miki Ryuji, Kazuhiro Tanaka, และ Yuki “Dirt” Izumida
-Taniguchi Nobuteru ขับรถมาสี่คันแล้วกับ HKS ในการแข่ง D1 ก็มี RS1 Hyper Silvia S15 (ซึ่ง Keiichi Tsuchiya เอาไปมิดมา อาจมีคนเคยเห็นคลิปนี้แล้ว) และ RS2 Hyper Silvia S15 อีกสองคัน (คันนึงจาก HKS Power Japan อีกคันจาก HKS Europe) และคันสุดท้าย Genki RP Atltezza ซึ่งถูกออกแบบให้ไม่มีของแต่งต้นแบบหรือของแต่งตัวทดลองของ HKS เลย เพื่อจุดประสงค์ที่ว่า นักดริฟท์ทั่วไป สามารถแต่งตามแบบรถคันนี้ได้ (แต่ในขณะที่แปลบทความนี้ รู้สึกเค้าจะมีรถใหม่อีกคันแล้ว เป็น Toyota Aristo สีแดง)
-นักแข่ง D1 หลายคนดังมากทั้งในญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา และมักจะมีอีกอาชีพทำอยู่ในการแข่ง Super GT หรือ Super Taikyu เช่น Manabu Orido และ Taniguchi Nobuteru เป็นต้น และ Keiichi Tsuchiya เอง ก็ทำงานเป็นผู้จัดการให้กับทีมในการแข่ง Super GT ด้วย
-สำหรับการแข่ง Super GT Manabu Orido ขับ Advan Eclipse Supra ในคลาส GT500 Nobuteru Taniguchi ขับ WEDSSPORT Celica ในคลาส GT300 ทั้งคู่อยู่ในทีมเดียวกันในการแข่ง Super Taikyu และขับ Porsche GT3 สำหรับ Keiichi Tsuchiya นั้นเคยขับ Arta NSX ในคลาส GT500 แต่ปัจจุบันเป็นผู้จัดการให้กับ Super Autobacs Garaiya ในคลาส GT300
-นักขับของทีม RE Amemiya, Masao Suenaga ได้ถูกเลือกโดยตัวของ Isami Amemiya เองเลยเพื่อให้มาขับ FD สีฟ้าคันนั้น เค้ามี Kumakubo เป็นอาจารย์ เช่นเดียวกับพี่/น้อง ของเค้า Naoto Suenaga ซึ่งก็มี D1 License เหมือนกัน
-หลายคนเคยถามว่าทำไมลายไวนิลหรือสติกเกอร์บนด้านข้างของรถนั้น ติดแบบกลับด้านจากซ้ายไปขวา นี่ไม่เกี่ยวกับความมักง่ายของผู้ผลิตหรือกฎใด ๆ มันเป็นเรื่องของสไตล์มากกว่า
-ถนนบนภูเขาบางเส้นเช่นบนภูเขา Haruna (ภูเขา Akina นั่นแหละ) มีเส้นดักความเร็วขนาดใหญ่บนถนน เนินเหล่านี้มีขึ้นเพื่อกันการแข่งกันบนภูเขา โดยปกติมันจะอยู่ตรงช่วงก่อนเข้าและออกจากโค้ง เช่น ตรงโค้งแฮร์พินติดกัน 5 โค้งรวดบน Haruna ในระยะหลังนี้ การป้องกันต่าง ๆ มีขึ้นเพื่อป้องกันการแข่งกันบนภูเขา นี่รวมถึงการขยายรั้วกั้นด้วยเพื่อป้องกันไอ้พวกบ้าการ์ตูนบางคนกระโดดตัดโค้งบนเนิน อิโรฮะตามแบบในการ์ตูนเรื่อง Initial D ตอนทาคุมิแข่งกับ MR2
-ในประเทศออสเตรเลียเองนั้นการดริฟท์มีต้นกำเนิดมาจากทางแถบภูเขาทางใต้ของออสเตรเลีย โดยการรับวัฒนธรรมมาจากญี่ปุ่นเมื่อยุคทศวรรษที่ 90 Adelaide ยังคงเป็นที่รู้จักกันในนาม “the Home of Aussie drift
การของ Option ให้ได้ซะก่อน “Ikaten” นี่คือที่ที่เหล่ามือสมัครเล่นจะมา
พิสูจน์ฝีมือตัวเองเพื่อให้ได้เป็นส่วนหนึ่งของ D1 หากพวกเขาได้รับการคัด
เลือก พวกเขาจะได้รับ “D1 License” ซึ่งทำให้พวกเขามีโอกาสเข้าสู่รอบ
คัดเลือกของ D1 ประเทศอื่นที่ไม่ใช่ญี่ปุ่นค่อนข้างจะได้รับสิทธิพิเศษหน่อย
ตรงที่แค่ไปงาน “Driver’s Search” เพื่อที่จะได้ D1 License
-Kumakubo เป็นเจ้าของสนาม Ebisu ซึ่งนั่นเป็นเหตุผลว่าทำไม D1 มีต้นกำเนิดมาจากที่นั่น และก็เป็นอีกเหตุผลที่ว่าทำไม Kumakubo ถึงขับได้
ดีในรอบ Tsuiso
-คุณอาจเคยสังเกตเห็นคำว่า “Big X” บนฝากระโปรงรถของ Kumakubo Big X คืองานโชว์กลางแจ้งที่รวมเอาการโชว์ดริฟท์ โมโตครอส และกีฬา Xtreme อื่น ๆ รวมไว้ด้วยกัน โดยนำเอาระดับท๊อป ๆ ของแต่ละแขนงมารวมตัวกัน
-กลุ่มดริฟท์ของ Big X มีชื่อเรียกว่า Drift Xtreme ซึ่งนักแข่งชั้นนำของ D1 จะถูกเชิญให้เข้าร่วมเมื่อเค้าเริ่มเป็นที่รู้จัก คุณจะเห็นสติ๊กเกอร์ Drift Xtreme บนรถ D1 หลายคัน ยกตัวอย่างเช่น Nobushige Kumakubo, Nomura Ken, Kazama Yasuyuki, Miki Ryuji, Kazuhiro Tanaka, และ Yuki “Dirt” Izumida
-Taniguchi Nobuteru ขับรถมาสี่คันแล้วกับ HKS ในการแข่ง D1 ก็มี RS1 Hyper Silvia S15 (ซึ่ง Keiichi Tsuchiya เอาไปมิดมา อาจมีคนเคยเห็นคลิปนี้แล้ว) และ RS2 Hyper Silvia S15 อีกสองคัน (คันนึงจาก HKS Power Japan อีกคันจาก HKS Europe) และคันสุดท้าย Genki RP Atltezza ซึ่งถูกออกแบบให้ไม่มีของแต่งต้นแบบหรือของแต่งตัวทดลองของ HKS เลย เพื่อจุดประสงค์ที่ว่า นักดริฟท์ทั่วไป สามารถแต่งตามแบบรถคันนี้ได้ (แต่ในขณะที่แปลบทความนี้ รู้สึกเค้าจะมีรถใหม่อีกคันแล้ว เป็น Toyota Aristo สีแดง)
-นักแข่ง D1 หลายคนดังมากทั้งในญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา และมักจะมีอีกอาชีพทำอยู่ในการแข่ง Super GT หรือ Super Taikyu เช่น Manabu Orido และ Taniguchi Nobuteru เป็นต้น และ Keiichi Tsuchiya เอง ก็ทำงานเป็นผู้จัดการให้กับทีมในการแข่ง Super GT ด้วย
-สำหรับการแข่ง Super GT Manabu Orido ขับ Advan Eclipse Supra ในคลาส GT500 Nobuteru Taniguchi ขับ WEDSSPORT Celica ในคลาส GT300 ทั้งคู่อยู่ในทีมเดียวกันในการแข่ง Super Taikyu และขับ Porsche GT3 สำหรับ Keiichi Tsuchiya นั้นเคยขับ Arta NSX ในคลาส GT500 แต่ปัจจุบันเป็นผู้จัดการให้กับ Super Autobacs Garaiya ในคลาส GT300
-นักขับของทีม RE Amemiya, Masao Suenaga ได้ถูกเลือกโดยตัวของ Isami Amemiya เองเลยเพื่อให้มาขับ FD สีฟ้าคันนั้น เค้ามี Kumakubo เป็นอาจารย์ เช่นเดียวกับพี่/น้อง ของเค้า Naoto Suenaga ซึ่งก็มี D1 License เหมือนกัน
-หลายคนเคยถามว่าทำไมลายไวนิลหรือสติกเกอร์บนด้านข้างของรถนั้น ติดแบบกลับด้านจากซ้ายไปขวา นี่ไม่เกี่ยวกับความมักง่ายของผู้ผลิตหรือกฎใด ๆ มันเป็นเรื่องของสไตล์มากกว่า
-ถนนบนภูเขาบางเส้นเช่นบนภูเขา Haruna (ภูเขา Akina นั่นแหละ) มีเส้นดักความเร็วขนาดใหญ่บนถนน เนินเหล่านี้มีขึ้นเพื่อกันการแข่งกันบนภูเขา โดยปกติมันจะอยู่ตรงช่วงก่อนเข้าและออกจากโค้ง เช่น ตรงโค้งแฮร์พินติดกัน 5 โค้งรวดบน Haruna ในระยะหลังนี้ การป้องกันต่าง ๆ มีขึ้นเพื่อป้องกันการแข่งกันบนภูเขา นี่รวมถึงการขยายรั้วกั้นด้วยเพื่อป้องกันไอ้พวกบ้าการ์ตูนบางคนกระโดดตัดโค้งบนเนิน อิโรฮะตามแบบในการ์ตูนเรื่อง Initial D ตอนทาคุมิแข่งกับ MR2
-ในประเทศออสเตรเลียเองนั้นการดริฟท์มีต้นกำเนิดมาจากทางแถบภูเขาทางใต้ของออสเตรเลีย โดยการรับวัฒนธรรมมาจากญี่ปุ่นเมื่อยุคทศวรรษที่ 90 Adelaide ยังคงเป็นที่รู้จักกันในนาม “the Home of Aussie drift
คำเตือน ! ! !
ไม่ควรกระทำการเองโดยขาดผู้เชี่ยวชาญ และสถานที่ปลอดภัยอย่างเด็ดขาด
ไม่ควรใช้ พื้นที่ ถนนสาธารณะ เพื่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น
ควรมาที่สถานที่จัดอบรม การฝึกขับขี่ แต่ละโครงการที่จัดขึ้นอย่างถูกต้อง
1 ความคิดเห็น:
แล้วพี่มีนดริฟเป็นป่ะ?
แสดงความคิดเห็น